Tag Archives: universal robots

การประยุกต์ใช้หุ่นยนต์อุตสาหกรรมในอุตสาหกรรมการผลิต [Guest Post]

เป็นเวลานานแล้วที่อุตสาหกรรมการผลิตมีความโดดเด่นในด้านการนำระบบอัตโนมัติสมัยใหม่มาใช้อย่างจริงจัง นับตั้งแต่การฝังหุ่นยนต์เชิงกลหลักในทศวรรษที่ 1960 หลายสิ่งหลายอย่างก็เปลี่ยนไป ปัจจุบันสายการผลิตจะมีประสิทธิภาพ ปรับตัว และแน่นอนมากขึ้น ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา มีการอัปเกรดจำนวนมากในสายการผลิตเพื่อช่วยคนงานในการมอบหมายงานในแต่ละวัน ทุกวันนี้ หุ่นยนต์ส่วนใหญ่ถูกใช้เป็นส่วนหนึ่งของการประกอบและการผลิต เช่น การจัดการวัสดุ การประมวลผลการดำเนินงานและการประกอบ และการตรวจสอบข้อเท็จจริง เรามาเจาะลึกข้อมูลของหุ่นยนต์อุตสาหกรรมในสายการผลิตกัน

Read More »

[Guest Post] ยูนิเวอร์ซัล โรบอท เผยหุ่นยนต์โคบอท พร้อมหนุนอุตสาหกรรมการผลิตไทย

ตลาดหุ่นยนต์โคบอทมีมูลค่าทั่วโลกถึง 7,972 ล้านเหรียญสหรัฐในปี 2569 เอเชีย แปซิฟิกโตแซงหน้ายุโรปภายในปี 2564 เหตุอุตสาหกรรมการผลิตขนาดใหญ่ใช้โคบอท

Read More »

[Guest Post] การเติบโตของอุตสาหกรรมยานยนต์ในไทย ผลักดันการใช้หุ่นยนต์โคบอทในปี 2564

โคบอทได้ติดตั้งไปแล้ว 126,000 ตัวในทุกภาคส่วน ซึ่งอุตสาหกรรมยานยนต์เป็นผู้ใช้รายใหญ่ที่สุดในโลก

Read More »

[Guest Post] ยูนิเวอร์ซัล โรบอท กระตุ้นอุตสาหกรรมการผลิตของไทยใช้ระบบอัตโนมัติ เพื่อลดการบาดเจ็บและเพิ่มขวัญกำลังใจของพนักงาน

เทคโนโลยีระบบอัตโนมัติยังสามารถช่วยเพิ่มผลผลิตและลดการบาดเจ็บถึง 72%[1]

Read More »

[Guest Post] ยูนิเวอร์ซัล โรบอท จัดงานแสดงและการประชุมเสมือนจริงด้านหุ่นยนต์โคบอท เป็นครั้งแรกในเอเชีย – แปซิฟิก

ยูนิเวอร์ซัล โรบอท จัดงานแสดงและการประชุมเสมือนจริงด้านหุ่นยนต์โคบอท เป็นครั้งแรกในเอเชีย – แปซิฟิก นำข้อมูลเชิงลึกของโซลูชันอัตโนมัติที่ยืดหยุ่นและประหยัดต้นทุนเพื่อรับมือกับความท้าทาย ด้านความปลอดภัย และการตอบแทนการลงทุนหลังการระบาดโควิด – 19 ของธุรกิจเอสเอ็มบี

Read More »

[Guest Post] 5 เรื่องเล่าที่เข้าใจผิด เกี่ยวกับหุ่นยนต์โคบอทส์

เมื่อหุ่นยนต์ร่วมปฏิบัติงาน หรือ โคบอทส์ ได้ปรากฏตัวขึ้น ณ ศูนย์กลางทำงานในชั้นที่เป็นพื้นที่อันทันสมัยของโรงงาน  และเรื่องเล่าและความเข้าใจผิดบางอย่างก็ได้เกิดขึ้น เช่น การย้ายคนงานและความเสี่ยงต่อความปลอดภัย เรื่องเล่าไหนเป็นของจริง และอะไรคือความเข้าใจผิดที่บริสุทธิ์?  

Read More »

[PR] ยูนิเวอร์แซล โรบอทส์จับมือกับนิสสัน มอเตอร์ เพื่อยกระดับกำลังการผลิตโดยใช้หุ่นยนต์ที่สามารถปฏิบัติงานร่วมกับมนุษย์ได้

นิสสัน มอเตอร์ปรับกระบวนการผลิตให้ง่ายขึ้น ลดค่าแรง และรักษาคุณภาพงานผลิต ให้มีเสถียรภาพโดยการใช้ โคบอทส์(cobots) รุ่น UR10 ของยูนิเวอร์แซล โรบอทส์ กรุงเทพฯ 7 เมษายน 2560 –  บริษัทพัฒนาและผลิตหุ่นยนต์ชั้นนำ ยูนิเวอร์แซล โรบอทส์ ได้ประกาศว่า บริษัท นิสสัน มอเตอร์ ได้ประสบความสำเร็จในการนำแขนหุ่นยนต์รุ่น UR10 ของยูนิเวอร์แซล โรบอทส์ไปติดตั้งใช้งานที่โรงงานในโยโกฮามาประเทศญี่ปุ่น โดยก่อนหน้านี้ มีบริษัทผู้ผลิตยานยนต์ชั้นนำของโลก ได้แก่ บีเอ็มดับเบิ้ลยูและโฟล์กสวาเกน ซึ่งได้นำหุ่นยนต์ที่สามารถปฏิบัติงานร่วมกับมนุษย์ได้ หรือ โคบอทส์ (Collaborative Robots: Cobots) ของยูนิเวอร์แซล โรบอทส์ไปใช้ในกระบวนการผลิตอัตโนมัติแล้ว หลังจากที่นำ Cobots ของยูนิเวอร์แซล โรบอทส์ไปติดตั้งใช้งาน กระบวนการผลิตของนิสสันก็มีประสิทธิภาพสูงขึ้น ส่งผลให้สามารถผลิตชิ้นงานได้มากขึ้นและมีเสถียรภาพมากขึ้น ในขณะเดียวกันก็ช่วยประหยัดเวลาและลดต้นทุน ช่วยให้กำลังคนของนิสสันที่มีอายุมากขึ้นได้มีภาระงานที่ต้องรับผิดชอบน้อยลงและหมุนเวียนไปปฏิบัติงานที่ใช้แรงงานน้อยลงได้

Read More »

[PR] เคล็บลับสำหรับเอสเอ็มอี: “หุ่นยนต์ทำงานร่วมกับมนุษย์” คือคำตอบของการเพิ่มผลผลิต

เอสเอ็มอี: ขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศไทย มีบริษัทไม่น้อยกว่า 2.7 ล้านบริษัทที่มีส่วนในว่าจ้างงานกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศไทยด้าน การบริการ การค้าขาย และด้านการผลิต[1] และในกลุ่มบริษัทเหล่านี้ วิสาหกิจขนาดเล็กและกลางหรือเอสเอ็มอี ( SMEs ) ประเมินได้ว่าคิดเป็นร้อยละ 37 ของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ( GDP ) ของประเทศ ตามข้อมูลของบมจ. หลักทรัพย์ เมย์แบงก์ กิมเอ็ง[2]

Read More »

[PR] เก็บเกี่ยวประโยชน์ของการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอย่างชาญฉลาด

เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมา ประเทศในอาเซียน 10 ประเทศได้รวมตัวกันเป็น “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” หรือ เออีซี ที่มีประชากรรวมถึง 600 ล้านคน และผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ( GDP ) มูลค่า 3 ล้านล้านเหรียญสหรัฐ ที่กลายมาเป็นตลาดเดียวระดับภูมิภาครองรับการไหลเวียนของสินค้า บริการ การลงทุน แรงงานฝีมือ และเงินทุนหมุนเวียนต่าง ๆ [1] ได้อย่างเสรีและเป็นแหล่งดึงดูดนักลงทุนจากทั่วโลก

Read More »

[PR] ยูนิเวอร์แซล โรบอทส์: ผู้ผลิตหุ่นยนต์ที่ใหญ่ที่สุดของเดนมาร์ก มีรายรับเติบโตถึง 91%

กรุงเทพฯ – 2 มีนาคม พ.ศ. 2559 – เป็นเรื่องที่สร้างความฮือฮาอย่างมากเมื่ออเมริกัน เทราไดน์ ( American Teradyne ) ยอมจ่ายมากกว่า 285 ล้านเหรียญสหรัฐเป็นค่าหุ้นทั้งหมดในบริษัทยูนิเวอร์แซล โรบอทส์ที่มีสำนักงานตั้งอยู่ที่เมืองโอเดนส์ ประเทศเดนมาร์ก เมื่อฤดูสปริงปี พ.ศ. 2558 ราคาของบริษัทธุรกิจที่มีพนักงาน 150 คนในเดนมาร์กนี้สะท้อนให้เห็นถึงความคาดหวังต่ออัตราการเติบโตขยายตัวอย่างมีนัยยะสำคัญของอุตสาหกรรมหุ่นยนต์

Read More »

[PR] ผู้ผลิตเฟอร์นิเจอร์ก้าวไกลระดับโลกได้ด้วยหุ่นยนต์อุตสาหกรรม เสริมคุณภาพและความยืดหยุ่นคล่องตัวในการรับงาน

บทความโดย เชอร์มีน ก็อตเฟรดเซ็น ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ยูนิเวอร์แซล โรบอทส์ ประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก เฟอร์นิเจอร์ไม้และโลหะ ชิ้นส่วนประกอบเฟอร์นิเจอร์ รวมทั้งเตียงนอนล้วนเป็นส่วนหนึ่งของสินค้าหลากหลายที่ผู้ผลิตเพื่อส่งออกชาวไทยได้ส่วนแบ่งตลาดที่สวยงามในตลาดต่างประเทศ เฟอร์นิเจอร์ที่ผลิตจากไทยในช่วงปีที่ผ่านมาเป็นที่รู้จักยอมรับในฝีมือด้าน “นวัตกรรม” หรือ “ความคิดสร้างสรรค์” จนมาวันนี้ นักออกแบบหน้าใหม่และช่างฝีมือที่รุ่มรวยทักษะก็ยังเป็นกลจักรสำคัญที่ทำให้สินค้าส่งออกจากไทยนั้นโดดเด่นได้รับความสนใจเหรือสินค้าจากคู่แข่งอื่น ๆ ในตลาด

Read More »

[PR] ใช้เทคโนโลยีหุ่นยนต์เพื่อหนุนธุรกิจสู่ตำแหน่งผู้นำอุตสาหกรรมยา โดย เชอร์มีน ก็อตเฟรดเซ็น ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ยูนิเวอร์แซล โรบอทส์ ประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก

อุปสงค์ของหุ่นยนต์อุตสาหกรรม ประเทศไทยรวมไปถึงเพื่อนบ้าน เช่น สิงคโปร์และมาเลย์เซีย อัตราการเติบโตของการยอมรับการลงทุนหุ่นยนต์อุตสาหกรรมต่างเพิ่มขึ้น ดังข้อมูลของสมาพันธ์หุ่นยนต์นานาชาติ ( IFR ) ปรากฎว่าประเทศไทยเป็นหนึ่งในตลาดที่เติบโตอย่างรวดเร็วในแถบเอเชียด้วยตัวเลขประเมินจำนวนหุ่นยนต์อุตสาหกรรมในสต็อกที่เพิ่มขึ้นทุกปี อย่างน้อย 4,000 ยูนิตนับแต่ปี พ.ศ. 2556 ถึง 2560[1] ผู้ผลิตต่างสนใจลงทุนกับเทคโนโลยีนี้เพราะมีข้อได้เปรียบเชิงธุรกิจหลายประการ เช่น เพิ่มศักยภาพการผลิต และลดค่าใช้จ่าย ภาคส่วนสาธารณสุขของไทยเติบโต เมื่อปีพ.ศ. 2545 ที่ไทยเปิดตัวโครงการหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า ประชากรไทยได้รับการประกันสุขภาพ ปลุกเร้าการเติบโตธุรกิจเภสัชกรรม ให้กลายมาเป็นตลาดขนาดใหญ่เป็นที่สองในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในปัจจุบัน คาดว่าจะเติบโตต่อเนื่องมีขนาดเป็นสองเท่าภายในปี พ.ศ. 2563 เวลานี้ อุตสาหกรรมยา และเภสัชกรรมเติบโตรับความต้องการภายในประเทศและการส่งออก การส่งออกเภสัชกรรมมีมูลค่าประมาณ 300 ล้านเหรียญสหรัฐ โดยส่งไปยังประเทศในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น เวียตนามและกัมพูชา ภายในปี พ.ศ. 2563 จะมีผู้มีอายุ 60ปี เป็น 18% ของจำนวนประชากรในประเทศ เทียบอัตราส่วนกับประชากรวัยทำงาน 6:1[2] ดังนั้น จากจำนวนประชากรสูงอายุของประเทศที่เพิ่มขึ้นคาดได้ว่าส่งผลต่อการเติบโตในภาคส่วนสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง ภาครัฐฯ ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมศักยภาพของอุตสาหกรรมสาธารณสุข เห็นได้จากงบประมาณสนับสนุนการค้นคว้าวิจัยและพัฒนาเพื่อยกระดับห่วงโซ่คุณภาพ ( value chain )[3] มุ่งหวังให้ก้าวทันความต้องการที่ขยายตัว …

Read More »

[PR] ยูนิเวอร์ซอลโรบอตส์หนุนวิสตรอน เร่งเครื่องอัตราการผลิตคล่องตัวขึ้น ด้วยหุ่นยนต์ที่ทำงานร่วมกับมนุษย์

ยูนิเวอร์ซอลโรบอตส์ เป็นบริษัทที่ผลิตหุ่นยนต์สำหรับงานอุตสาหกรรมมาอย่างยาวนาน โดยประสิทธิภาพของตัวหุ่นยนต์ ทนทานสามารถรับแรงกดดันได้ มากกว่ามนุษย์ถึง 2 คน 

Read More »

[PR] การนำหุ่นยนต์อุตสาหกรรมมาใช้งาน: ก้าวไปไกล มองไปข้างหน้า แนะนำว่ากลุ่มอุตสาหกรรมภาคการผลิตควรพิจารณาหุ่นยนต์เป็นหนทางสู่ประโยชน์ระยะยาว

โดย เชอร์มีน ก็อตเฟรดเซ็น ผู้จัดการทั่วไป บริษัท ยูนิเวอร์แซล โรบอทส์ ประจำภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก ยุคแห่งหุ่นยนต์ ประธานบริษัทซอฟต์แบงก์กรุ๊ปแห่งญี่ปุ่น คุณมาซาโยชิ ซันได้ทำนายไว้ในเดือนมิถุนายนปี พ.ศ. 2558 นี้ว่า จำนวนของหุ่นยนต์จะเติบโตแซงหน้าจำนวนประชากรมนุษย์ภายในอีก 30 ปีข้างหน้า ด้วยผู้คนต่างก็ชื่นชอบหุ่นยนต์ที่เลียนแบบกิริยาท่าทางมนุษย์และปฏิบัติงานต่าง ๆ ได้ ดังนั้นจึงเป็นข่าวดีของภาคอุตสาหกรรมการผลิตในการนำหุ่นยนต์มาติดตั้งใช้งานเป็นจำนวนมาก ตามรายงานการสำรวจโดยสมาพันธ์หุ่นยนต์นานาชาติชี้จำนวนหุ่นยนต์อุตสาหกรรมที่ติดตั้งใช้งานทั่วโลกปัจจุบันมีมากกว่า 200,000 ตัวเมื่อปี พ.ศ. 2557 โดยความต้องการหุ่นยนต์อุตสาหกรรมเติบโตอย่างต่อเนื่องในอัตราเฉลี่ย 12% ต่อปีนับจากปี พ.ศ. 2558 ถึง พ.ศ. 2560[1] เลือกสรรการลงทุนอย่างชาญฉลาด นอกจากบริษัทที่มีสายการผลิตขนาดใหญ่ที่ใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีหุ่นยนต์ได้แล้ว ธุรกิจขนาดเอสเอ็มอีก็สามารถนำมาใช้งานได้อย่างดี ด้วยขนาดที่กะทัดรัดและมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยของหุ่นยนต์รุ่นใหม่ ๆ แต่เมื่อต้องการลงทุนเริ่มต้นก็เป็นประเด็นสำคัญที่เอสเอ็มอีต้องระแวดระวังเป็นอย่างยิ่ง และมักจะอิงกับมาตรการการเงินดังนี้: ระยะเวลาคืนทุน หรือ ผลตอบแทนจากการลงทุน ระยะเวลาคืนทุนนั้นติดตามผลเป็นรายปี และระยะเวลาที่การลงทุนนั้นใช้เพื่อให้ได้กระแสเงินสดรับสุทธิที่ได้จากการลงทุนคุ้มค่ากับต้นทุนที่ต้องลงทุนไป มีข้อเสียเปรียบหลายประการในการวัดความเสี่ยงการลงทุนด้วยวิธีนี้ อาทิ วิธีการนี้มิได้หมายรวมถึงรายรับอนาคตเมื่อผ่านจุดคุ้มทุน หมายความว่ามูลค่าระยะยาวที่ได้รับจากการลงทุนไปกับหุ่นยนต์อุตสาหกรรมนั้นมิได้สะท้อนรวมอยู่ในสมการนี้ด้วย ผลตอบแทนจากการลงทุนนั้นมักจะแสดงเป็นอัตราส่วน คำนวณยอดกำไรสุทธิของการลงทุนที่เกี่ยวข้องกับค่าใช้จ่าย “บริษัทผู้ผลิตส่วนใหญ่มีวิธีการแบบดั้งเดิมในการคำนวณผลตอบแทน และจะอิงการลดต้นทุนค่าแรงงงาน (direct labor savings) และผลประโยชน์ระยะสั้น แต่ผลประโยชน์จริง …

Read More »