CDIC 2023

Ubuntu ออก Patch อุดช่องโหว่ Code Execution และ DoS บน Kernel

Ubuntu ได้ออก Patch อุดช่องโหว่บน Kernel ด้วยกันถึง 4 จุด เพื่อแก้ปัญหาการถูกโจมตีแบบ Code Execution และ DoS ใน Ubuntu 14.04 LTS

ubuntu_techtalkthai_banner

ช่องโหว่เหล่านี้มีรหัสได้แก่ CVE-2015-8812, CVE-2016-2085, CVE-2016-2550, CVE-2016-2847 ซึ่งผู้ใช้งานทุกคนควรรีบอัพ Patch โดยทันที โดยทาง Ubuntu ได้ออกมาเปิดเผยรุ่นที่ต้อง Patch เอาไว้ดังนี้ http://www.ubuntu.com/usn/usn-2946-1/

ทั้งนี้ทาง Ubuntu ก็ได้ออกมาเตือนว่าการอัพเดต Kernel นี้อาจทำให้ต้อง Recompile และ Reinstall Kernel Module ที่เป็น 3rd Party ไปบ้างเหมือนกัน ยกเว้นจะทำการ Uninstall Standard Kernel Metapackage เอง

ผู้ที่สนใจโซลูชั่น Open Source Software ต่างๆ รวมถึง Linux/Unix Data Center Infrastructure และระบบ CMS สำเร็จรูปที่มีประสิทธิภาพสูงและปลอดภัยระดับองค์กรพร้อมบริการครบวงจร ทั้ง WordPress และ Magento สามารถติดต่อทีมงาน UnixDev ได้ทันทีที่โทร 081-651-9393 หรืออีเมลล์ info@unixdev.co.th

 

เกี่ยวกับ UnixDev

unixdev-logo-web

UnixDev คือทีมงานผู้เชี่ยวชาญทางด้าน System Engineering ที่ครอบคลุมทั้ง Linux, Unix, Microsoft Windows และ VMware แบบ Full Stack ซึ่งสามารถให้บริการในการตรวจสอบแก้ไขปัญหาและปรับปรุงประสิทธิภาพและความปลอดภัยสำหรับระบบ Hypervisor, Operating System, Application, Web Application ไปจนถึง Database แบบครบวงจร https://www.unixdev.co.th

ที่มา: http://www.theregister.co.uk/2016/04/07/ubuntu_kernel_patch/


About techtalkthai

ทีมงาน TechTalkThai เป็นกลุ่มบุคคลที่ทำงานในสาย Enterprise IT ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้าน Network, Security, Server, Storage, Operating System และ Virtualization มารวมตัวกันเพื่ออัพเดตข่าวสารทางด้าน Enterprise IT ให้แก่ชาว IT ในไทยโดยเฉพาะ

Check Also

TechTalk Webinar: Data Observability by IBM Databand – Deliver Reliable and Trustworthy Data

ขอเชิญทุกท่านเข้าร่วมงานสัมมนาออนไลน์ในหัวข้อ “Data Observability by IBM Databand : Deliver Reliable and Trustworthy Data” โดยทีมงาน Computer Union …

4 แนวทางการทำ Workplace Transformation ด้วย SASE

การทำ Workplace Transformation หรือการเปลี่ยนแปลงวิธีการทำงานของพนักงานโดยรวมให้เข้าสู่โลกของดิจิทัลได้จากทุกที่ทุกเวลานั้น ยังคงเป็นอีกความท้าทายสำคัญของธุรกิจองค์กรทั่วโลก และ SASE เองก็ได้มีบทบาทสำคัญมากยิ่งขึ้นอย่างต่อเนื่องในฐานะของเทคโนโลยีสำหรับการรักษาความมั่นคงปลอดภัยให้กับผู้ใช้งานและอุปกรณ์ต่างๆ ที่จำเป็น