Black Hat Asia 2023

Red Hat ออก RHEL 8.7 และ 9.1 เวอร์ชัน Beta

Red Hat ได้ประกาศออก RHEL เวอร์ชันเบต้นของ 8.1 และ 9.1 แล้วโดยมีฟีเจอร์ที่น่าสนใจดังนี้

Credit: Red Hat

ตัวเวอร์ชัน 8.7 และ 9.1 เองไม่ได้มีการเปลี่ยนแปลงต่างจากเวอร์ชันก่อนหน้านัก แต่ก็มีเรื่องน่าสนใจใหม่อยู่บ้างคือ

  • เวอร์ชัน 9.1 มีฟีเจอร์ด้านความมั่นคงปลอดภัยใหม่ 2 ตัวคือ แอดมินสามารถตรวจสอบ Integrity ของการบูตระบบจากทางไกลได้ และความสามารถ Multilevel Security (MLS) สำหรับองค์กรรัฐบาลหรือผู้ให้บริการซอฟต์แวร์ที่มีความต้องการด้าน Security สูงเป็นพิเศษ
  • ทำให้สามารถใช้ระบบตัวตนใน OS ผ่าน Ansible ได้เช่นการคอนฟิคการพิสูจน์ตัวตนด้วย Smart Card ใน Topology ของตน ตลอดจนการเข้าถึงระบบ RHEL ที่มีการเก็บ Identity ไว้แหล่งอื่นเช่น AWS, Azure และ Google Cloud
  • ในมุมของเครื่องมือใหม่สำหรับนักพัฒนาเช่น  Ruby 3.1, Maven 3.8 และ NodeJS 18 รวมถึง V8 Runtime 
  • เครื่องมือบริหารจัดการระบบผ่าน Web Console อย่าง Cockpit ก็มีความสามารถใหม่เช่น การจัดการไฟล์วอล, Live-patching, ดาวน์โหลดอิมเมจติดตั้ง, การมอนิเตอร์ Podman Container และอื่นๆ 

ผู้สนใจสามารถติดตามประกาศฉบับเต็มของ Red Hat ได้ที่ https://www.techzine.eu/news/devops/90233/red-hat-introduces-rhel-8-7-and-rhel-9-1-beta/ 

ที่มา : https://www.theregister.com/2022/09/29/ibm_red_hat_linux/ และ https://www.techzine.eu/news/devops/90233/red-hat-introduces-rhel-8-7-and-rhel-9-1-beta/ และ https://venturebeat.com/programming-development/red-hat-advances-enterprise-linux-with-improved-podman-containers/


About nattakon

จบการศึกษา ปริญญาตรีและโท สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ KMITL เคยทำงานด้าน Engineer/Presale ดูแลผลิตภัณฑ์ด้าน Network Security และ Public Cloud ในประเทศ ปัจจุบันเป็นนักเขียน Full-time ที่ TechTalkThai

Check Also

ปกป้อง Workload อย่างไร้รอยต่อจาก Azure สู่ AIS Cloud X ด้วย Microsoft Defender for Cloud

สาเหตุที่ Public Cloud ได้รับความนิยมมีหลายปัจจัย นอกเหนือจากตัวเลือกทางเทคโนโลยีที่ล้ำหน้าและนวัตกรรมใหม่ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ก็คงหนีไม่พ้นเครื่องมือด้าน Security อย่างไรก็ดีที่ผ่านมาความท้าทายของ Security ที่เกิดขึ้นก็คือข้อจำกัดของเครื่องมือที่ไม่สามารถก้าวออกนอกแพลตฟอร์มได้ ด้วยเหตุนี้เองผู้ทำงานด้านความมั่นคงปลอดภัยจึงต้องรับบทหนักเพิ่มขึ้นจากแนวทาง Multi-cloud ด้วย การใช้งาน Local …

พลิกมุมคิดการจัดการคลาวด์ไอทีอย่างสมาร์ตฉบับวีเอ็มแวร์ [Guest Post]

แม้คลาวด์จะกลายเป็นส่วนหนึ่งของการพาองค์กรก้าวข้ามวิกฤตไปสู่การสร้างสรรค์โมเดลธุรกิจหรือกลยุทธ์การแข่งขันใหม่ ด้วยคุณลักษณะที่คล่องตัว (Agility) ในการปรับความต้องการใช้งานโดยอัตโนมัติ (Auto-Scaling) ได้ด้วยตัวเอง (Self-Services) ทว่าหลายองค์กรซึ่งเลือกปฏิวัติระบบธุรกิจขึ้นสู่คลาวด์กลับประสบปัญหาการจัดการทรัพยากรที่ยิบย่อยบนคลาวด์ไม่ไหว แถมหัวจะปวดกับภัยคุกคามที่ยุ่งยากในการป้องกัน ด้วยเหตุนี้ ความคาดหวังต่อไอทีคลาวด์ยุคถัดไป คือ การปรับแต่งแอปพลิเคชันและแพลตฟอร์มคลาวด์ไอทีให้ทันสมัยตรงต่อความต้องการทางธุรกิจ ภายใต้ระบบการรักษาความปลอดภัยแบบองค์รวมที่แข็งแกร่ง ทั่วถึง และเป็นอัตโนมัติกว่าเดิม