CDIC 2023

รวมผลกระทบบั๊ค Heartbleed กับผลิตภัณฑ์ยี่ห้อต่างๆ

เนื่องจากข่าวเกี่ยวกับช่องโหว่ Heartbleed ค่อนข้างมาแรงในช่วงวันหยุดสงกรานต์นี้ ซึ่งเป็นไปได้สูงมากที่หลายคนจะต้องเตรียมเริ่มงานใหม่ที่บริษัทด้วยการจัดการปัญหาดังกล่าวกับเครื่องเซิฟเวอร์และอุปกรณ์อื่นๆที่ใช้งานให้รอดพ้นจาก Heartbleed ทางทีมงาน TechTalkThai จึงรวบรวมข้อมูลผลิตภัณฑ์ของ Vendor ต่างๆที่ได้รับ และไม่ได้รับผลกระทบจากบั๊ค Heartbleed มาเผยแพร่ให้กับทุกๆคน เพื่อให้ง่ายต่อการค้นหา และแก้ไขปัญหาครับ

Vendors

Operating Systems

เครื่องมือสำหรับตรวจสอบช่องโหว่ Heartbleed ฟรี

Heartbleed คืออะไร ?

Heartbleed เป็นบั๊คของ Software Library สำหรับการเข้ารหัสของ OpenSSL ซึ่งถูกพัฒนาโดยใช้โปรโตคอลการเข้ารหัสแบบ SSL/TLS ในการป้องกันนโยบายส่วนบุคคล (Privacy) ระหว่างติดต่อสื่อสารบนอินเตอร์เน็ต OpenSSL ถูกใช้ในหลายเว็บไซต์ รวมไปถึงแอพพลิเคชันอื่นๆ เช่น อีเมลล์, โปรแกรมแชท และ VPN

ช่องโหว่ Heartbleed ทำให้แฮ็คเกอร์สามารถอ่านหน่วยความจำของระบบที่ใช้ OpenSSL เวอร์ชัน 1.0.1 ถึง 1.0.1f โดยสามารถเข้าถึง ชื่อผู้ใช้, รหัสผ่าน หรือแม้แต่ Key ในการเข้ารหัส SSL ของเซิฟเวอร์ ส่งผลให้แฮ็คเกอร์สามารถแอบดูข้อมูลการสื่อสารระหว่างผู้ใช้งานและเซิฟเวอร์เพื่อนำไปใช้โจมตีระบบในอนาคตได้


About techtalkthai

ทีมงาน TechTalkThai เป็นกลุ่มบุคคลที่ทำงานในสาย Enterprise IT ที่มีความเชี่ยวชาญทางด้าน Network, Security, Server, Storage, Operating System และ Virtualization มารวมตัวกันเพื่ออัพเดตข่าวสารทางด้าน Enterprise IT ให้แก่ชาว IT ในไทยโดยเฉพาะ

Check Also

[โปรพิเศษรอบ Early Bird] คอร์สเรียน ‘Incident Response’ จาก Sosecure เรียนออนไลน์ เน้นลงมือจริง 3 วันเต็ม

Incident Response เป็นหนึ่งในหัวข้อหลักของแผนการที่ทุกองค์กรควรมือ คำถามคือทุกวันนี้องค์กรหรือบริษัทที่ท่านมีส่วนรวมมีแผนรับมือเหล่านี้ได้ดีเพียงใด ครอบคลุมความเสี่ยงและเคยผ่านสถานการณ์จริงมาได้ดีแค่ไหน ซึ่งหากปฏิบัติตามแผนได้ดีก็อาจจะช่วยลดผลกระทบของความเสียหายได้อย่างมีนัยสำคัญ ด้วยเหตุนี้เองจึงอยากขอเชิญชวนผู้สนใจทุกท่านมาเพิ่มพูนความรู้ในคอร์สสุดพิเศษจาก Sosecure โดยเนื้อหาจะกล่าวถึง Framework, Incident Response และ Incident Handling …

[โปรพิเศษรอบ Early Bird] คอร์สเรียน ‘Threat Hunting’ จาก Sosecure เรียนออนไลน์ เน้นลงมือจริง 3 วันเต็ม

การต่อกรกับภัยคุกคามทางไซเบอร์ไม่จำเป็นที่จะต้องเป็นฝ่ายตั้งรับเท่านั้น และหากทำได้ดีเราก็สามารถลงมือตอบสนองก่อนเกิดเหตุได้เช่นกัน ยิ่งทำได้เร็วเท่าไหร่ยิ่งดี ซึ่งทีม Threat Hunting มีบทบาทอย่างมากในการทำงานร่วมกับระบบ SoC ซึ่งสามารถใช้ข้อมูลภัยคุกคามจากทั่วทุกมุมโลกมาช่วยตรวจจับการโจมตีที่เกิดขึ้นได้  คำถามคือแล้วในงานเหล่านี้ควรมีทักษะเกี่ยวข้องในด้านไหนบ้าง Sosecure ขอชวนผู้สนใจในสายงานด้าน Cybersecurity ที่ต้องการรู้ลึก ทำได้จริง …

Leave a Reply